แบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ที่มีต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คำชี้แจง

แบบสอบถามนี้ จัดทำขึ้นเพื่อสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาและอาจารย์ที่มีต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ข้อมูลที่ได้รับจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และปรับปรุงการจัดบริการให้แก่นักศึกษาและอาจารย์ต่อไป

ตอนที่ 1

 
ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน

1. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

 

2. เพศ

 

3. สถานภาพ

 

4. คณะ

 

ตอนที่ 2

 
พึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ที่มีต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

ประเด็นวัดความพึงพอใจ

 
1. ด้านกายภาพ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน/ห้องปฏิบัติการโดยรวม มีความสะอาด และแสงสว่างพอเพียง
2. อาคาร ห้องเรียน/ห้องปฏิบัติการ มีความเหมาะสม มีอุปกรณ์ โต๊ะ เก้าอี้ สภาพดี เพียงพอกับจำนวนผู้เรียน
3. จุดเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตมีความเหมาะสมทันสมัยและเพียงพอต่อความต้องการ
4. สถานที่ออกกำลังกายมีความเหมาะสม
5. สภาพแวดล้อมภายในห้องสุขาโดยรวม มีความสะอาด อากาศถ่ายเท
6. หอพักภายในมหาวิทยาลัยมีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการพัก(เฉพาะ มรธ.สมุทรปราการ)
7. อาคารเรียนและสภาพแวดล้อมมีการตกแต่งให้สวยงาม

ประเด็นวัดความพึงพอใจ

 
2.ด้านสิ่งอำนวยความสะดวกหรือทรัพยากรที่เอื้อต่อการเรียน มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการมีอุปกรณ์และสื่อเทคโนโลยีที่ใช้ในการสอนที่ทันสมัย มีคุณภาพ และพร้อมใช้งานอยู่เสมอ
2. ทรัพยากรสารสนเทศ (สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ ฐานข้อมูลออนไลน์) ของห้องสมุด มีความเพียงพอ
3. ทรัพยากรสารสนเทศ (สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ ฐานข้อมูลออนไลน์) ของห้องสมุด ทันสมัย
4. ทรัพยากรสารสนเทศ (สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ ฐานข้อมูลออนไลน์) ของห้องสมุดมีความหลากหลาย
5. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการเพียงพอแก่นักศึกษา
6. จุดเชื่อมต่อระบบเครือข่ายไร้สาย(WiFi)เพียงพอต่อการใช้งาน
7. การกำหนดสิทธิ์เข้าใช้งานระบบ (Username Account) มีความปลอดภัย และเป็นประโยชน์ในด้านสิทธิส่วนบุคคล
8. การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารจากมหาวิทยาลัยที่เป็นประโยชน์ เช่น ทุนการศึกษา อาชีพและการจัดหางาน เป็นต้น

ประเด็นวัดความพึงพอใจ

 
3. ด้านการให้บริการ
3.1 ด้านการให้บริการของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. ความสะดวกและความรวดเร็วในการใช้บริการ
2. ขั้นตอนและวิธีการใช้บริการไม่ยุ่งยากซับซ้อน มีความคล่องตัว
3. การให้บริการและการให้คำแนะนำของเจ้าหน้าที่ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประเด็นวัดความพึงพอใจ

 
3.2 ด้านการให้บริการระบบงานทะเบียน มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. การลงทะเบียนเรียนผ่านระบบเครือข่ายมีความสะดวกและคล่องตัว
2. การประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารต่างๆอย่างทั่วถึงและหลายช่องทาง
3. ขั้นตอนและวิธีการใช้บริการไม่ยุ่งยากซับซ้อน มีความคล่องตัว
4. การให้บริการและการให้คำแนะนำของเจ้าหน้าที่สำนักงานส่งเสริมและงานทะเบียน

ประเด็นวัดความพึงพอใจ

 
3.3 ด้านการให้บริการกองพัฒนานักศึกษา มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. มีกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพแก่นักศึกษาที่หลากหลายๅ
2. ได้รับความรู้และทักษะจากการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมพัฒนา
3. การให้บริการเกี่ยวกับการเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา/ทุนการศึกษา
4. ขั้นตอนและวิธีการใช้บริการไม่ยุ่งยากซับซ้อน มีความคล่องตัวในการเข้ารับบริการ
5. การประชาสัมพันธ์ข่าวสารต่าง ๆทั่วถึงและรวดเร็ว
6. การให้บริการและการให้คำแนะนำของเจ้าหน้าที่กองพัฒนานักศึกษา

ประเด็นวัดความพึงพอใจ

 
3.4 ด้านการให้บริการของงานพยาบาล มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. ขั้นตอนและวิธีการใช้บริการไม่ยุ่งยากซับซ้อน มีความคล่องตัวในการเข้ารับบริการ
2. ห้องพยาบาลมีความสะอาดเป็นระเบียบ
3. การให้บริการและการให้คำแนะนำของเจ้าหน้าที่งานพยาบาล

ประเด็นวัดความพึงพอใจ

 
3.5 ด้านการให้บริการโรงอาหาร มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. โรงอาหารกลางของมหาวิทยาลัยมีความสะอาด เพียงพอ และถูกสุขลักษณะ
2. จำนวนร้านอาหารที่ให้บริการมีความหลากหลาย
3. ราคากับปริมาณอาหารและรสชาติมีความเหมาะสม
4. การให้บริการของผู้ขายอาหาร

ประเด็นวัดความพึงพอใจ

 
3.6 ด้านการให้บริการของงานการเงิน มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. ขั้นตอนการใช้บริการสะดวกรวดเร็ว
2. ระยะเวลาการให้บริการเหมาะสม
3. การให้บริการและการให้คำแนะนำของเจ้าหน้าที่การเงิน

ประเด็นวัดความพึงพอใจ

 
3.7 ด้านการให้บริการห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ส่วนกลาง(ศูนย์คอมพิวเตอร์) มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. ห้องปฏิบัติการมีความสะอาดเป็นระเบียบบรรยากาศและสภาพแวดล้อม เหมาะสมกับการให้บริการ
2. เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ มีความทันสมัย มีประสิทธิภาพเหมาะสมเพียงพอกับการให้บริการ
3. ขั้นตอนและวิธีการใช้บริการไม่ยุ่งยากซับซ้อน มีความคล่องตัวในการเข้ารับบริการ
4. การให้บริการและการให้คำแนะนำของเจ้าหน้าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์

ประเด็นวัดความพึงพอใจ

 
3.8 ด้านการให้บริการของศูนย์ภาษา มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. ห้องปฏิบัติการมีความสะอาดเป็นระเบียบบรรยากาศและสภาพแวดล้อม เหมาะสมกับการให้บริการ
2. ขั้นตอนและวิธีการใช้บริการไม่ยุ่งยากซับซ้อน มีความคล่องตัวในการเข้ารับบริการ
3. กิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางภาษาแก่นักศึกษามีความหลากหลาย
4. การให้บริการและการให้คำแนะนำของเจ้าหน้าที่ศูนย์ภาษา

ประเด็นวัดความพึงพอใจ

 
3.9 ด้านการให้บริการของคณะ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. สภาพแวดล้อมของคณะมีความสวยงาม สะอาด สะดวก
2. คณะมีสถานที่สำหรับให้นักศึกษาและอาจารย์ได้พบปะ แลกเปลี่ยนสนทนา และทำกิจกรรมร่วมกัน
3. ขั้นตอนและวิธีการใช้บริการไม่ยุ่งยากซับซ้อน มีความคล่องตัวในการเข้ารับบริการ
4. การบริการข้อมูลข่าวสารภายในคณะ เช่น เว็บไซต์ บอร์ดประชาสัมพันธ์ มีความสะดวก หลากหลาย และทั่วถึง เข้าถึงง่าย
5. ความสะดวกในการใช้งานอินเทอร์เน็ตภายในคณะ
6. การให้บริการและการให้คำแนะนำของเจ้าหน้าที่ของคณะ

ประเด็นวัดความพึงพอใจ

 
3.10 ด้านการให้บริการห้องปฏิบัติการคณะ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. เครื่องมือและอุปกรณ์ เพียงพอ ทันสมัยมีประสิทธิภาพพร้อมใช้ในการปฏิบัติงาน
2. ขั้นตอนและวิธีการใช้บริการไม่ยุ่งยากซับซ้อน มีความคล่องตัวในการเข้ารับบริการ
3. การให้บริการและการให้คำแนะนำของเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ

ประเด็นวัดความพึงพอใจ

 
3.11 ด้านการจัดการเรียนการสอนของสาขาวิชา มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. หลักสูตรมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบัน
2. อาจารย์มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในรายวิชาที่สอน
3. ความทันสมัยและความหลากหลายของรายวิชาในหลักสูตร
4. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
5. กระบวนการเรียนการสอนกระตุ้นให้เกิดการแสวงหาความรู้เพิ่มเติม
6. การจัดกิจกรรมเสริมสร้างหลักสูตรที่สอดคล้องกับสาขาที่เรียน เช่น ไปทัศนศึกษา หรือเชิญผู้ทรงคุณวุฒิมาบรรยาย เป็นต้น
7. กระบวนการจัดการเรียนการสอน เน้นการพัฒนานักศึกษาและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เช่น ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทักษะทางภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ทักษะการทำงานแบบมีส่วนร่วม ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความสามารถในการดูแลสุขภาพ
8. การจัดตารางเรียนมีช่วงเวลาที่เหมาะสม
9. มีกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพแก่นักศึกษาที่หลากหลาย ทั้งในและนอกชั้นเรียน

ตอนที่ 3

 
ข้อเสนอแนะอื่น ๆ

ความคิดเห็น

 

ความคิดเห็น

 

ความคิดเห็น